โค้งวงกลม : Circular Curve
Circular Curve: โค้งวงกลม
โค้งวงกลม(Circular Curve) หรือโค้งเดี่ยว(Simple Curve) คือ โค้งที่มีจุดศูนย์กลาง
โค้งเพียงหนึ่งจุดศูนย์กลาง ในการออกแบบและก่อสร้างถนนจำเป็นต้องใส่โค้งวงกลมเพื่อ
หลีกเลี่ยงสิ่งกีดขวาง เช่น ภูเขา หรือสิ่งก่อสร้างเดิม ซึ่งการออกแบบจะต้องถูกต้องตาม
เรขาคณิต ซึ่งจะทำให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยของยวดยาน
ส่วนประกอบโค้ง
PI คือ จุดสกัด หรือจุดตัดระหว่างแนวเส้นตรงสองแนว
ที่มีการเชื่อมโยงด้วยโค้งแนวราบ
∆ คือ มุมเหหรือมุมสกัด
T คือ เส้นสัมผัสส่วนโค้ง
E คือ ระยะจากจุดสกัดถึงจุดกึ่งกลางของโค้งแนวราบ
M คือ ระยะจากกึ่งกลางของเส้นคอร์ดถึงจุดกึ่งกลางของ โค้งแนวราบ
L คือ ความยาวโค้ง
LC คือ ความยาวของเส้นคอร์ด
R คือ รัศมีโค้ง
PC คือ จุดเริ่มต้นโค้ง
PT คือ จุดสุดท้ายโค้ง
M คือ ระยะจากกึ่งกลางของเส้นคอร์ดถึงจุดกึ่งกลางของ โค้งแนวราบ
L คือ ความยาวโค้ง
LC คือ ความยาวของเส้นคอร์ด
R คือ รัศมีโค้ง
PC คือ จุดเริ่มต้นโค้ง
PT คือ จุดสุดท้ายโค้ง
ตาราง ความสัมพันธ์V D R องศาโค้งที่ให้ความปลอดภัยมากที่สุด
มุมเห Deflection Angle
ความสัมพันธ์ของ Deflection Angle,Arc,Radius and Chord
Deflection Angle for Each Station
_______________________________________________________________________________________
โค้งผสม : Compound curveCompound curve : โค้งผสม
โค้งผสม คือ โค้งที่ประกอบด้วยโค้งวงกลมหลายโค้งมาต่อกัน
และจุดศูนย์กลางโค้งทั้งหมดจะอยู่ซีกเดียวกันของเส้น สัมผัส
และรัศมีของโค้งที่เชื่อมต่อกันจะยาวไม่เท่ากัน จุดที่ความยาวโค้งต่อกัน
คือ Point of compound curve (PCC)ส่วนสำคัญของโค้งผสม : มุมเห
ของโค้ง ร่วม (ΣΔi) รัศมีของโค้งร่วม (Ri) เส้น สัมผัสเส้น ยาว/เส้นสั้น (TL/TS)
และ Δ ของโค้งผสม
ประโยชน์ของโค้งผสม
1. ใช้ในบริเวณที่เป็นภูเขาเพื่อปรับเส้นทาง ถนน ให้เข้ากับภูมิประเทศและ
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการสัญจร
2. ใช้ในการออกแบบช่องทางสำหรับเลี้ยวในกรณีที่ถนนสายหลักกับ
ถนนสายรองมาตัดกัน
3. ใช้ในบริเวณทางต่อเชื่อมระหว่างถนนและทางด่วน (Ramp) ที่บริเวณ
ทางขึ้นหรือทางลง หรือใช้ในการออกแบบโค้ง ของทางแยก
ต่างระดับ (Interchange) โดยใช้ร่วมกับโค้งก้นหอย
โค้งผสมชนิด 2 ศูนย์กลาง : Two center compound curve
ข้อมูลที่ทราบจากการสำรวจภาคสนาม: Δi ของแต่ละโค้งย่อยและค่า R
ของแต่ละโค้งย่อย
โค้งผสมชนิด 2 ศูนย์กลาง : Two center compound curve
ย่อยและค่า R ของแต่ละโค้งย่อย
____________________________________________________________________________________________
โค้งกลับทิศทาง (Reversed curve)

(Point of reverse curve) เป็นจุดร่วมหรือมีเส้น สัมผัสที่ต่อเชื่อมระหว่างโค้ง เรียกว่า
เส้น สัมผัสร่วม (Intermediate tangent)
Intermediate tangent จะอยู่ระหว่างโค้ง ทำหน้า ที่แยกโค้ง สองโค้ง ออกจากกัน
และควรมีความยาวประมาณ 100 เมตร
โค้งกลับทิศทางต่อกันที่จุด PRC
ประเภทที่ 1 : รัศมียาวไม่เท่ากัน คำนวณเสมือนโค้ง วงกลมสองวงต่อกัน
ประเภทที่ 2 : รัศมียาวเท่ากันคำนวณหารัศมีที่ใช้กับทั้งสองโค้ง ได้ดังนี้

ประเภทที่ 1: รัศมียาวเท่ากัน

ประเภทที่2:รัศมีไม่เท่ากัน


โค้งกลับทิศทางที่เส้นสัมผัสไม่ขนานกัน แต่รัศมีเท่ากัน
ประเภทที่ 1: AB ได้ จากการวางแนว กําหนดมุม α, β หา Δ1และ Δ2

______________________________________________________________________________________
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น